อุปสรรคของการเจริญภาวนา
เครื่องกังวลในการบำเพ็ญภาวนามี ๑๐ อย่าง คือกังวลด้วยอาวาส ตระกูล ลาภ กังวลเพราะหมู่คณะ การทำงาน การเดินทาง ญาติพี่น้อง กังวลด้วยเรื่องความเจ็บป่วยไข้ การศึกษาเล่าเรียน และอิทธิฤทธิ์
ออกแบบชีวิตด้วยตนเอง (๒)
ดูก่อนน้องนางผู้เจริญ ในท่ามกลางหญิงเหล่านี้ ไม่มีหญิงแม้แต่คนเดียวที่โดดเด่นเสมอเหมือนกับเธอ เธอสง่างามราวกับนางอัปสร ผู้งดงามท่ามกลางหมู่เทพนารี เป็นสตรีผู้มีบุญลักษณะ เธอทำบุญอะไรไว้ จึงได้สิริสมบัตินี้มาครอบครอง
เปรต ๑๒ ตระกูล (๓)
บุคคลผู้ทำบาปย่อมเดือดร้อนในโลกนี้ ย่อมเดือดร้อนในโลกหน้า ย่อมเดือดร้อนในโลกทั้งสอง บุคคลผู้ทำบาปนั้น ย่อมเดือดร้อนว่า บาปอกุศลเราทำไว้แล้ว บุคคลผู้ทำบาปนั้น ไปสู่ทุคติแล้ว ย่อมเดือดร้อนอย่างยิ่ง
เส้นทางจอมปราชญ์ (๘)
ผู้ทำบุญแล้วย่อมบันเทิงในโลกนี้ ละไปแล้วย่อมบันเทิงในโลกหน้า ชื่อว่าย่อมบันเทิงในโลกทั้งสอง เมื่อมองเห็นความบริสุทธิ์แห่งกรรมของตนแล้ว ย่อมบันเทิงปราโมทย์ยิ่งๆ ขึ้นไป
วิสาขามหาอุบาสิกา (พรอันประเสริฐ)
สตรีใดให้ข้าวและน้ำ มีใจเบิกบานแล้ว สมบูรณ์ด้วยศีล เป็นสาวิกาของพระสุคต ครอบงำความตระหนี่แล้ว บริจาคทาน อันเป็นเหตุแห่งสวรรค์ เป็นเครื่องบรรเทาความโศก นำมาซึ่งความสุข สตรีนั้น อาศัยมรรคปฏิบัติ ปราศจากธุลี ไม่มีกิเลสเครื่องยั่วยวน ย่อมได้กำลัง และอายุทิพย์ สตรีผู้ประสงค์บุญนั้น เป็นคนมีสุข สมบูรณ์ด้วยพลานามัย ย่อมปลื้มใจในสวรรค์สิ้นกาลนาน
คลอดลูกในสามล้อ แล้วอุ้มต่อไปตัดสายสะดือ
เนื่องเพราะ หลงเชื่อสื่อที่ประโคมข่าวโจมตี ทำให้เธอไม่ชอบวัดพระธรรมกาย …แต่ภายหลังจากที่เธอได้น้องชายเป็นกัลยาณมิตร ชักชวนให้ติดจานดาวธรรม เมื่อได้รับชมรายการต่างๆผ่านทาง DMC ทำให้เธอมีความเข้าใจที่ถูกต้องต่อวัดพระธรรมกาย เธอและสามีจึงได้ตัดสินใจ ขอร่วมทางในการสร้างบารมีกับหมู่คณะ…
งานบุญในวาระวันคล้ายวันเกิด ๑๒๖ปีพระมงคลเทพมุนี ณ วัดพระธรรมกายมินเนโซต้า
วันเสาร์ ที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๕๓ เวลา ๒๑.๐๐ นตามเวลาท้องถิ่นรัฐมินเนโซต้า สหรัฐอเมริกา ซึ่งตรงกับวันอาทิตย์ที่ ๑๐ ตามเวลาประเทศไทย เหล่าลูกพระธัมมฯ วัดพระธรรมกายมินเนโซต้า
วัดบึงพลาญชัย
วัดบึงพลาญชัยเป็นวัดพระอารามหลวงชั้นตรี ตั้งอยู่ที่ถนนประชาธรรมรักษ์ อำเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด มีเนื้อที่ ๑๐ ไร่เศษ เป็นศูนย์อบรมศึกษาของพระธรรมกถึกภาคตะวันออกเฉียงเหนือทั้ง ๑๙ จังหวัด มีพระภิกษุและสามเณรจำพรรษาประมาณ ๑๓๐ รูป
หมวดศัพท์ปฏิบัติธรรม
ศาสดาเอกของโลก(๓)
นักปราชญ์บัณฑิตทั้งหลายพิจารณาเห็นว่า การเกิดบ่อยๆ เป็นทุกข์ ความแก่ ความเจ็บและความตายก็เป็นทุกข์ ท่านจึงแสวงหาหนทางพ้นทุกข์